ผักพื้นเมืองสุดยอดสมุนไพรไทย ภาคอีสาน
ควินิน
ชื่ออื่น: ขี้นิน ผักควินิน (ภาคอีสาน) คิวนิน (ภาคกลาง) สะเดาอินเดีย
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์:
ต้น ไม้ยืนต้นอายุหลายปี สูง 8-12 เมตร แตกกิ่งแขนง เปลือกต้นมีสีน้ำตาลแกมเทา
ใบ ใบประกอบแบบขนนกลักษณะและการเรียงตัวเช่นเดียวกับสะเดาบ้านแต่ใบสีเขียวแก่ หนาเป็นมันวาว ใบย่อยโค้งเป็นรูปเคียวกว้าง 2-3 ซม. ยาว 4-6 ซม. ใบหยักเป็นคลื่นขอบใบจัก
ดอก สีขาว ดอกเป็นช่อออกตามปลายกิ่ง
ผล ผลค่อนข้างกลม เมื่อสุกจะมีสีเหลือง มีกลิ่นหอม
เมล็ด เมล็ดเรียว สีขาวขุ่น หนึ่งผลมีเมล็ดเดี่ยว
ต้น ไม้ยืนต้นอายุหลายปี สูง 8-12 เมตร แตกกิ่งแขนง เปลือกต้นมีสีน้ำตาลแกมเทา
ใบ ใบประกอบแบบขนนกลักษณะและการเรียงตัวเช่นเดียวกับสะเดาบ้านแต่ใบสีเขียวแก่ หนาเป็นมันวาว ใบย่อยโค้งเป็นรูปเคียวกว้าง 2-3 ซม. ยาว 4-6 ซม. ใบหยักเป็นคลื่นขอบใบจัก
ดอก สีขาว ดอกเป็นช่อออกตามปลายกิ่ง
ผล ผลค่อนข้างกลม เมื่อสุกจะมีสีเหลือง มีกลิ่นหอม
เมล็ด เมล็ดเรียว สีขาวขุ่น หนึ่งผลมีเมล็ดเดี่ยว
การขยายพันธุ์: เมล็ด
การใช้ประโยชน์
ทางอาหาร ขมกว่าสะเดา ใบอ่อนนำมาลวกเผาไฟ กินกับลาบ ป่น ก้อย แจ่ว ส้มตำ
ทางยา ใบ แก่น ต้มใช้เป็นยาแก้ไข้มาลาเรีย ใบใช้เป็นยาฆ่าแมลง ใบต้มแก้โรคเบาหวาน
ดอกแก้พิษโลหิตกำเดา แก้ริดสีดวงในลำคอ ผลรสขมเย็นบำรุงหัวใจไม่เต้นเป็นปกติ
การใช้สอยอื่น ทำเฟอร์นิเจอร์ เสาบ้าน
ทางอาหาร ขมกว่าสะเดา ใบอ่อนนำมาลวกเผาไฟ กินกับลาบ ป่น ก้อย แจ่ว ส้มตำ
ทางยา ใบ แก่น ต้มใช้เป็นยาแก้ไข้มาลาเรีย ใบใช้เป็นยาฆ่าแมลง ใบต้มแก้โรคเบาหวาน
ดอกแก้พิษโลหิตกำเดา แก้ริดสีดวงในลำคอ ผลรสขมเย็นบำรุงหัวใจไม่เต้นเป็นปกติ
การใช้สอยอื่น ทำเฟอร์นิเจอร์ เสาบ้าน
เทียนตาตั๊กแตน (ผักชีลาว)
ชื่ออื่นๆ: เทียนข้าวเปลือก เทียนตาตั๊กแตน(ภาคกลาง)ผักชี(ขอนแก่น เลย)
ผักชีตั๊กแตนผักชีเทียน(พิจิตร)ผักชีเมือง(น่าน)
ผักชีตั๊กแตนผักชีเทียน(พิจิตร)ผักชีเมือง(น่าน)
ชื่อวิทยาศาสตร:์ Anethum graveolens L.
วงศ์: UMBELLIFERAE
ชื่อสามัญ: Dill
ลักษณะ:
พืชล้มลุกมีอายุ 1-2 ปี ลำต้นเรียบและตรง มีรูกลวงตลอดความยาว ใบประกอบแบบขนนก ดอกเป็นช่อออกจากฐานเดียวกัน
กลีบดอกโค้งเข้า ปลายกลีบมีหยักเว้า ผลรูปรี มีขอบนูนขึ้นมาเป็น 3 แนวที่ด้านหลังเมล็ด
สรรพคุณ:
ขับลม บำรุงกำลัง แก้เส้นศูนย์กลางท้องพิการ แก้ชีพจรอ่อนหรือพิการ แก้นอนสะดุ้งผวา แก้เสมหะพิการ แก้กำเดา
ยาพื้นบ้าน : ทั้งต้น ผสมผักชีลาวทั้งต้น ต้มน้ำดื่มแก้หวัด ตำรายาไทยใช้ ผล บำรุงกำลัง ขับลม เส้นท้องพิการ แก้นอนสะดุ้ง คลุ้มคลั่ง
พืชล้มลุกมีอายุ 1-2 ปี ลำต้นเรียบและตรง มีรูกลวงตลอดความยาว ใบประกอบแบบขนนก ดอกเป็นช่อออกจากฐานเดียวกัน
กลีบดอกโค้งเข้า ปลายกลีบมีหยักเว้า ผลรูปรี มีขอบนูนขึ้นมาเป็น 3 แนวที่ด้านหลังเมล็ด
สรรพคุณ:
ขับลม บำรุงกำลัง แก้เส้นศูนย์กลางท้องพิการ แก้ชีพจรอ่อนหรือพิการ แก้นอนสะดุ้งผวา แก้เสมหะพิการ แก้กำเดา
ยาพื้นบ้าน : ทั้งต้น ผสมผักชีลาวทั้งต้น ต้มน้ำดื่มแก้หวัด ตำรายาไทยใช้ ผล บำรุงกำลัง ขับลม เส้นท้องพิการ แก้นอนสะดุ้ง คลุ้มคลั่ง
ถั่วแปบ
ชื่อพื้นบ้านอีสาน : ถั่วแปบ
ชื่อวิทยาศาสตร :์ Cajanus scarabaeoides (L.), Thouars
ชื่ออื่นๆ : มะแปบ (มหาสารคาม) ถั่วแปะยี (ภาคเหนือ)
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Dolichos lablab Linn.
วงศ์ : LEGUMINOSAE
ชื่อสามัญ : Hyacinth Bean, Lablab, Monavist
ชื่อพ้อง : Dolichos soudanensis Hort, Lablab vulgaris Savi
ลักษณะทางพฤกษศาสตร :์ เป็นไม้เลื้อยล้มลุกอายุหลายปีลำต้นบิดมีขนเล็กน้อยสูง1.5-3.0เมตร บางพันธุ์
สูงได้ถึง9เมตรบางพันธุ์แคระหรือเป็นพุ่มใบประกอบ3ใบรูปไข่กว้างยาว7.5-15.0เซนติเมตรปลายเรียว
แหลมดอกสีขาวแดงหรือม่วงออกตามซอกใบและปลายยอดช่อดอกแบบกระจะยาว3-2.5เซนติเมตรฝัก
แบนยาว2.5-6.3เซนติเมตรเมล็ดแก่จัดสีดำหรือน้ำตาลเข้มแบนรูปขอบขนาน ยาว2เซนติเมตร
สูงได้ถึง9เมตรบางพันธุ์แคระหรือเป็นพุ่มใบประกอบ3ใบรูปไข่กว้างยาว7.5-15.0เซนติเมตรปลายเรียว
แหลมดอกสีขาวแดงหรือม่วงออกตามซอกใบและปลายยอดช่อดอกแบบกระจะยาว3-2.5เซนติเมตรฝัก
แบนยาว2.5-6.3เซนติเมตรเมล็ดแก่จัดสีดำหรือน้ำตาลเข้มแบนรูปขอบขนาน ยาว2เซนติเมตร
สรรพคุณ:
ส่วนต่างๆ ที่ใช้ ฝักอ่อน เมล็ด บำรุงร่างกาย แก้อ่อนเพลีย บำรุงธาตุ แก้ไข้ แก้อาการแพ้
ส่วนที่ให้สี คือ ใบ สีที่ได้ คือ เขียว เป็นไม้เลื้อย ลำต้น กลม มีขนคายทั่วไป ใบ เป็นใบประกอบ มีใบย่อย 3 ใบ
ก้านใบยาวประมาณ 10 ซม. ส่วนโคนบวม ใบมนมีขนาดใหญ่สุด รูปไข่กว้าง ขนาด 10-15 ซม. ยาว 15-20 ซม.
ปลายใบแหลม สองใบล่าง รูปไข่เบี้ยว ขนาดกว้าง 8-12 ซม. ยาว 12-18 ซม. มีขนนุ่นปกคลุม ดอกสีม่วงหรือ
แกมขาวเล็กน้อย ออกเป็นช่อตั้ง ก้านช่อดอกยาว 20-50 ซม. ดอกย่อยเป็นแบบดอกถั่ว ขนาดผ่าศูนย์กลาง
ประมาณ 5 ซม. กลีบตั้ง กลมแผ่ มีแถบสีขาวตรงกลาง กลีบรองดอก เป็นถ้วย สีเทา เกสรผู้ อยู่รวมเป็นกลุ่ม
ผล เป็นฝักรูปทรงกระบอกแกมแบน ปลายแหลม มีขนสีน้ำตาลเข้มปกคลุม ขนาดกว้าง 1-2 ซม. ยาว 4-8 ซม.
ส่วนต่างๆ ที่ใช้ ฝักอ่อน เมล็ด บำรุงร่างกาย แก้อ่อนเพลีย บำรุงธาตุ แก้ไข้ แก้อาการแพ้
ส่วนที่ให้สี คือ ใบ สีที่ได้ คือ เขียว เป็นไม้เลื้อย ลำต้น กลม มีขนคายทั่วไป ใบ เป็นใบประกอบ มีใบย่อย 3 ใบ
ก้านใบยาวประมาณ 10 ซม. ส่วนโคนบวม ใบมนมีขนาดใหญ่สุด รูปไข่กว้าง ขนาด 10-15 ซม. ยาว 15-20 ซม.
ปลายใบแหลม สองใบล่าง รูปไข่เบี้ยว ขนาดกว้าง 8-12 ซม. ยาว 12-18 ซม. มีขนนุ่นปกคลุม ดอกสีม่วงหรือ
แกมขาวเล็กน้อย ออกเป็นช่อตั้ง ก้านช่อดอกยาว 20-50 ซม. ดอกย่อยเป็นแบบดอกถั่ว ขนาดผ่าศูนย์กลาง
ประมาณ 5 ซม. กลีบตั้ง กลมแผ่ มีแถบสีขาวตรงกลาง กลีบรองดอก เป็นถ้วย สีเทา เกสรผู้ อยู่รวมเป็นกลุ่ม
ผล เป็นฝักรูปทรงกระบอกแกมแบน ปลายแหลม มีขนสีน้ำตาลเข้มปกคลุม ขนาดกว้าง 1-2 ซม. ยาว 4-8 ซม.
ประโยชน์ : ปลูกเป็นไม้ประดับได้ แต่ไม่เป็นที่นิยม ผลและใบอ่อน รับประทานเป็นผักสดได้
ผักอีฮีน
ชื่อทั่วไป : ผักขาเขียด
ชื่อไทย : นิลุบล ผักอีฮีน
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Monochoria vaginalis (Burm.f.) Presl.
ชื่อวงศ์ : PONTEDERIACEAE
ประเภท : ไม้น้ำ
ประเภท/ชีพจักร : ใบกว้าง/อายุปีเดียว
ลักษณะเด่น : ก้านใบและใบคล้ายขาเขียดลักษณะทั่วไปคล้ายผักตบชวา
ส่วนขยายพันธุ์ : เมล็ด
สภาพที่เหมาะสม : ดินชื้นแฉะหรือน้ำขัง
นิเวศนาข้าวที่ระบาด : นาดำและนาหว่านน้ำตม
ลักษณะวิสัย :
ผักขาเขียดเป็นไม้น้ำจำพวกผักตับ มีลักษณะเหมือนผักตบไทยแต่มีขนาดเล็กกว่า ใบเรียวยาว
เกิดตามที่มีน้ำขัง เป็นพืชสะเทินน้ำสะเทินบกอายุฤดูเดียว ชอบขึ้นในที่น้ำท่วมขังตื้น ๆ เช่น
ในนาข้าว ใบเป็นใบเดี่ยวมีรูปร่างหลายแบบตั้งแร่รูปแคบยาวคล้ายหอก จนถึงรูปไข่ปลายใบแหลม
ฐานใบเป็นรูปหัวใจ ใบสีเขียวเข้มเป็นมัน แตกแบบสลับกันเป็น แถบก้านใบยาวโคนก้านแผ่ออกเป็นกาบ ดอกออกเป็นช่อตั้งตรง มีดอกย่อย 2-5 ดอก กลีบดอกสีม่วง มี 6 กลีบ มีเมล็ดมาก
ผักขาเขียดเป็นไม้น้ำจำพวกผักตับ มีลักษณะเหมือนผักตบไทยแต่มีขนาดเล็กกว่า ใบเรียวยาว
เกิดตามที่มีน้ำขัง เป็นพืชสะเทินน้ำสะเทินบกอายุฤดูเดียว ชอบขึ้นในที่น้ำท่วมขังตื้น ๆ เช่น
ในนาข้าว ใบเป็นใบเดี่ยวมีรูปร่างหลายแบบตั้งแร่รูปแคบยาวคล้ายหอก จนถึงรูปไข่ปลายใบแหลม
ฐานใบเป็นรูปหัวใจ ใบสีเขียวเข้มเป็นมัน แตกแบบสลับกันเป็น แถบก้านใบยาวโคนก้านแผ่ออกเป็นกาบ ดอกออกเป็นช่อตั้งตรง มีดอกย่อย 2-5 ดอก กลีบดอกสีม่วง มี 6 กลีบ มีเมล็ดมาก
ประโยชน์ : ทางอาหาร - ดอกอ่อนและก้านใบรับประทานได้
ทางยา - ใบ คั้นเอาน้ำดื่มแก้ไอ ขับปัสสาวะ ตำพอกฝี
หอมเป (ผักฝรั่ง)
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Eryngium foetidum Linn.
ชื่อวงศ์ : APIACEAE
ชื่ออื่นๆ : ผักชีดอย หอมป้อมกุลา (เหนือ) หอมเป (อิสาน) ยี่หร่า(สุรินทร์) แมะและเด๊าะ (กะเหรี่ยง – แม่ฮ่องสอน)
ลักษณะทั่วไป : ผักชีฝรั่ง เป็นไม้ล้มลุกสองฤดู สูง 0.1 – 0.3 เมตร
ลำต้น สั้นตั้งตรง แตกกิ่งก้านสาขาใกล้กับโคนต้น มีขนอ่อน ๆ
ปกคลุมอยู่หนาแน่นใบ เป็นใบเดี่ยว เรียงสลับรอบต้นแผ่เป็นรัศมี
ลักษณะของใบเป็นรูปไข่ปลายใบแหลม ผิวใบเรียบลื่นมีสีเขียวเข้มและแข็งกระด้าง ขอบใบจักฟันเลื่อย ดอก ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง มีใบประดับรองรับช่อดอก 7–10ใบดอกย่อยเรียงกันแน่นเป็นรูปทรงกระบอกขนาดเล็กมากผล เป็นผลแห้งรูปไข่ แตกง่าย
ขยายพันธุ์ : โดยเมล็ด
รสชาติ : รสเผ็ดร้อน
นิเวศวิทยาและการแพร่กระจาย พบมากตามที่ชื้นบริเวณที่ร่มรำไร ปลูกตามบ้านและสวนใช้เป็นอาหาร
ประโยชน์ : ทางด้านอาหาร - ใบและช่อดอก รับประทานเป็นผักสดหรือหั่นเพื่อปรุงแต่งรสชาติอาหาร
ทางด้านสมุนไพร - ใบหรือทั้งต้น ลำต้นนั้นทาหรือพอกแก้อาการอักเสบของพิษงู แมงป่อง ตะขาบ และแมลงมีพิษกัดต่อย น้ำมันหอมระเหยที่กลั่นจากกิ่งและใบ ช่วยบำรุงหัวใจ แก้เป็นลม หน้ามือ ตาลาย
ชื่อวงศ์ : APIACEAE
ชื่ออื่นๆ : ผักชีดอย หอมป้อมกุลา (เหนือ) หอมเป (อิสาน) ยี่หร่า(สุรินทร์) แมะและเด๊าะ (กะเหรี่ยง – แม่ฮ่องสอน)
ลักษณะทั่วไป : ผักชีฝรั่ง เป็นไม้ล้มลุกสองฤดู สูง 0.1 – 0.3 เมตร
ลำต้น สั้นตั้งตรง แตกกิ่งก้านสาขาใกล้กับโคนต้น มีขนอ่อน ๆ
ปกคลุมอยู่หนาแน่นใบ เป็นใบเดี่ยว เรียงสลับรอบต้นแผ่เป็นรัศมี
ลักษณะของใบเป็นรูปไข่ปลายใบแหลม ผิวใบเรียบลื่นมีสีเขียวเข้มและแข็งกระด้าง ขอบใบจักฟันเลื่อย ดอก ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง มีใบประดับรองรับช่อดอก 7–10ใบดอกย่อยเรียงกันแน่นเป็นรูปทรงกระบอกขนาดเล็กมากผล เป็นผลแห้งรูปไข่ แตกง่าย
ขยายพันธุ์ : โดยเมล็ด
รสชาติ : รสเผ็ดร้อน
นิเวศวิทยาและการแพร่กระจาย พบมากตามที่ชื้นบริเวณที่ร่มรำไร ปลูกตามบ้านและสวนใช้เป็นอาหาร
ประโยชน์ : ทางด้านอาหาร - ใบและช่อดอก รับประทานเป็นผักสดหรือหั่นเพื่อปรุงแต่งรสชาติอาหาร
ทางด้านสมุนไพร - ใบหรือทั้งต้น ลำต้นนั้นทาหรือพอกแก้อาการอักเสบของพิษงู แมงป่อง ตะขาบ และแมลงมีพิษกัดต่อย น้ำมันหอมระเหยที่กลั่นจากกิ่งและใบ ช่วยบำรุงหัวใจ แก้เป็นลม หน้ามือ ตาลาย
ขลู่
ชื่อพื้นเมือง: ขลู่, หนวดงั่ว, หนวดงิ้ว(อุดรธานี), ขี้นป้าน(ฮ่อนสอน), คลู, ขลู(ภาคใต้)
ชื่อสามัญ: Indian Marsh Fleabane
ชื่อวิทยาศาสตร;์ Pluchea indica Less.
วงศ์ : COMPOSITAE
การกระจายพันธุ์ พบขึ้นอยู่บริเวณแหล่งน้ำกร่อย พบตามที่ลุ่มชื้นแฉะ
ประโยชน์
- ทั้งต้น เป็นยาขับปัสสาวะ แก้โรคริดสีดวงทวาร
- ใบ ต้มกับน้ำดื่มช่วยลดน้ำหนัก ต้มน้ำอาบบำรุงประสาท น้ำคั้นแก้โรคบิด ใบตำผสมกับเกลือกินแก้กลิ่นปากระงับกลิ่นตัว ขับระดูขาว ในและราก แก้ใข้ ขับเหงื่อ พอกแก้แผลอักเสบ ทำเป็นขี้นผึ้งทาแผลเรื้อรัง ใบและต้นอ่อน ตำผสมแอลกอฮอล์
ทาแก้ปวดเอว โรคไขข้ออักเสบ ต้มน้ำอาบแก้โรคหิด ขี้นเรื้อน
- ใบอ่อน ใช้รับประทานเป็นผัก ส่วนเปลือกลำต้นใช้สับมวนบุหรี่สูบแก้โพรงจมูกอักเสบ
ลักษณะทั่วไป
ต้น - เป็นพรรณไม้พุ่มขนาดเล็กลำต้นมีความสูงประมาณ 0.5 - 2 m. แตกกิ่งก้านมากและเกลี้ยง
ใบ - จะมีกลิ่นฉุนใยเล็กรูปไข่กลับมีความยาวประมาณ 1 - 5.5 cm. กว้างประมาณ 2.5-9 cm
ตรงปลายใบจะมีลักษณะแหลม หรือแหลมมีติ่งสั้น ขอบใบจักเป็นซี่ฟันและแหลมเนื้อในจะคล้าย
กระดาษค่อนข้างเกลี้ยงแต่ไม่มีก้านดอก - จะออกเป็นช่อฝอยมีสีขาวนวลหรือสีม่วงจะออกตามง่ามใบ
ดอกวงนอกเป็นดอกเพศเมีย ดอกวงในเป็นดอกสมบูรณ์เพศ ก้านช่อดอกจะมีความยาวประมาณ 5 - 6 mm.
แต่ไม่มีก้านดอก ริ้วประดับมีลักษณะแข็งใเขียวและเรียงกันประมาณ 6 - 7 วง วงนอกรูปไข่ วงใน
รูปหอกแคบตรงปลายแหลม อับละอองเรณูตรงโคนจะเป็ฯรูปหัวลูกศรสั้นๆ เกสรท่อเกสรตัวเมียจะมี 2 แฉกสั้นๆ
ผล - แห้งจะมีรูปทรงกระบอกมีสัน 10 สัน
ที่มา : https://sites.google.com/site/herbalppk/phakh-xisan
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น